Responsive image
เมนูหลัก
หน้าหลัก
เกี่ยวกับตำบล
ประวัติความเป็นมา
สภาพทั่วไป
สภาพสังคม
สภาพทางเศรษฐกิจ
การบริการพื้นฐาน
สินค้า OTOP
สถานที่สำคัญ/แหล่งท่องเที่ยว
เกี่ยวกับเรา
วิสัยทัศน์/พันธกิจ
ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา
โครงสร้างส่วนราชการ
บทบาทหน้าที่
แผนพัฒนาท้องถิ่น
แผนดำเนินงานประจำปี
รายงานติดตามการใช้จ่ายรอบ 6 เดือน
รายงานผลการดำเนินงานประจำปี
คู่มือหรือมาตรฐานการปฎิบัติงาน
คู่มือหรือมาตรฐานการให้บริการ
ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ
รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจการให้บริการ
E-Service
แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
รายงานผลการใช้จ่ายประจำปี
แผนการจัดซื้อจัดจ้างหรือแผนการหาพัสดุ
รายการการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือแผนแผนการหาพัสดุรายเดือน
รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือแผนการหาพัสดุประจำปี
นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
การดำเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
แผนการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
รายงานการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดโดยธรรมจรรยา
หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
แนวปฎิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต
ข้อมูลเชิงสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตประจำปี
เจตจำนงของผู้บริหาร
การมีส่วนร่วมของผู้บริหาร
การประเมินความเสี่ยงการทุจริตประจำปี
การดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริต
การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี
รายงานกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปีรอบ 6 เดือน
รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี
มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน
การดำเนินการตามมาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน
นโยบายไม่รับของขวัญหรือของกำนัลจากการปฏิบัติหน้าที่
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงานประจำปี รอบ 6 เดือน
การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
แผนดำเนินงานและการใช้งบประมาณประจำปี
ประกาศเจตนารมณ์นโยบาย No Gift Policy จากการปฏิบัติหน้าที่
การสร้างวัฒนธรรม No Gift Policy
รายงานผลตามนโยบาย No Gift Policy
ประมวลจริยธรรมสำหรับเจ้าหน้าที่รัฐ
การขับเคลื่อนจริยธรรม Do s & Don t
การประเมินจริยธรรมเจ้าหน้าที่ของรัฐ
บุคลากร
คณะผู้บริหาร
สมาชิกสภา
หัวหน้าส่วนราชการ
สำนักปลัด
กองคลัง
กองช่าง
กองการศึกษา
หน่วยตรวจสอบภายใน
ผู้นำชุมชน
ITA
ITA
ข่าวสารตำบล
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
ข่าวกิจกรรม
ปฏิทินกิจกรรม
ข่าวรับสมัครโอน/ย้าย
ข้อมูลบริการประชาชน
นิตยสารออนไลน์ (E-Book)
ข่าวสารเครือข่าย
ข่าวประชาสัมพันธ์เครือข่าย
ข่าวกิจกรรมเครือข่าย
ปฏิทินกิจกรรมเครือข่าย
ข่าวรับสมัครโอน/ย้ายเครือข่าย
สินค้า OTOP เครือข่าย
ระเบียบ
หนังสือสั่งการ สถ.
พรบ./พรก.
กฎระเบียบกระทรวง
คำสั่ง สถ.
มติ ก. อบจ.
มติ ก. เทศบาล
มติ ก. อบต.
ข้อบัญญัติ
รายรับรายจ่าย
รายงานการประชุม
ติดต่อเรา
ติดต่อเรา
แผนที่ดาวเทียม
คู่มือประชาชน
ช่องทางแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ



 

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

บทบาทหน้าที่
อำนาจหน้าที่ของ อบต. มีอะไรบ้าง 
 
อำนาจหน้าที่ของ อบต.
แยกออกได้เป็น 2 ประเภท คือ อำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย
จัดตั้ง อบต.และอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
 
อำนาจหน้าที่ตามกฎหมายเลือกตั้ง อบต.
อบต. มีอำนาจหน้าที่ในการพัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม กิจกรรมสาธารณที่ อบต.มีอำนาจหน้าที่จัดทำสามารถจำแนกได้ 2 ประเภท คือ
 
1) กิจการที่ อบต. มีหน้าที่ต้องทำในเขต อบต. ดังนี้
   1. จัดให้มีการบำรุงรักษาทางน้ำและทางบก
   2. รักษาความสะอาดของถนน ทางน้ำ ทางเดิน และที่สาธารณะ รวมทั้งกำจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
   3. ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ
   4. ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
   5. ส่งเสริมการศึกษา  ศาสนา  และวัฒนธรรม
   6. ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุและผู้พิการ
   7. คุ้มครองดูแลและบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
   8. บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
  9. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ราชการมอบหมาย โดยจัดสรรงบประมาณหรือบุคลากรให้ตามความจำเป็นและสำคัญ
 2) กิจการที่ อบต. อาจจัดทำในเขต อบต. ดังนี้
1. ให้มีน้ำเพื่ออุปโภค บริโภคและการเกษตร
2. ให้มีการบำรุงรักษาการไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น
3. ให้มีและบำรุงรักษาทางระบายน้ำ
4. ให้มีและบำรุงสถานที่ประชุม การกีฬา การพักผ่อนหย่อนใจและสวนสาธารณะ
5. ให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรและกิจการสหกรณ์
6. ส่งเสริมให้มีอุตสาหกรรมในครอบครัว
7. บำรุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพของราษฎร
8. การคุ้มครองดูแลและรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
9. หาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของ อบต.
10. ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือและท่าข้าม
11. กิจการเกี่ยวกับการพานิชย์
12. การท่องเที่ยว
13. การผังเมือง
      “อำนาจหน้าที่ อบต. ดังกล่าวข้างต้นไม่ตัดอำนาจของกระทรวง ทบวง กรม องค์การหรือหน่วยงานของรัฐในการเข้าไปดำเนินการใดๆที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชนในตำบลแต่จะต้องแจ้งให้ อบต. ทราบล่วงหน้า และนำความเห็นของ อบต.เกี่ยวกับกิจการดังกล่าวไปประกอบการพิจารณาดำเนินงานด้วย”
อำนาจหน้าที่ตาม พ.ร.บ. กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

        นอกจากอำนาจหน้าที่ตาม พ.ร.บ. สภาตำบลและอบต. พ.ศ. 2537 แล้ว อบต. ยังมีอำนาจหน้าที่เพิ่มเติมในการจัดระบบบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตน ตามมาตรา 16 แห่ง พ.ร.บ. กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ส. 2542 ดังนี้
1. การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง
2. การจัดให้มีและบำรุงรักษาทางบก ทางน้ำและทางระบายน้ำ
3. การจัดให้มีและควบคุมตลาด ท่าเทียบเรือ ท่าข้าม และที่จอดรถ
4. การสาธารณูปโภคและการก่อสร้างอื่นๆ
5. การสาธารณูปการ
6. การส่งเสริม การฝึกและการประกอบอาชีพ
7. การพาณิชย์และการส่งเสริมการลงทุน
8. การส่งเสริมการท่องเที่ยว
9. การจัดการศึกษา
10. การสังคมสงเคราะห์และการพัฒนาคุณภาพชีวิต เด็ก สตรี คนชราและผู้ด้วยโอกาส
11. การบำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่น
12. การปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดและการจัดการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย
13. การจัดให้มีและบำรุงรักษาสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ
14. การส่งเสริมการกีฬา
15. การส่งเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาคและสิทธิเสรีภาพของประชาชน
16. การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎรในการพัฒนาท้องถิ่น
17. การรักษาความสะอาด และความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง
18. การกำจัดมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และน้ำเสีย
19. การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัวและการรักษาพยาบาล
20. การจัดให้มีและควบคุมสุสานและฌาปนกิจสถาน
21. การควบคุมการเลี้ยงสัตว์
22. การจัดให้มีและควบคุมการฆ่าสัตว์
23. การักษาความปลอดภัย ความเป็นระเบียบเรียบร้อยและการอนามัยโรงมหรสพและสาธารณสถานอื่นๆ
24. การจัดการ การบำรุงรักษาและการใช้ประโยชน์จากป่าไม้ ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
25. การผังเมือง
26. การขนส่งและการวิศวกรรมจราจร
27. การดูแลรักษาที่สาธารณะ
28. การควบคุมอาคาร
29. การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
30. การรักษาความสงบเรียบร้อย การส่งเสริมและสนับสนุน การป้องกันและรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
31. กิจการอื่นใดที่เป็นผลประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่น
 
การออกข้อบัญญัติท้องถิ่น อบต.ทุ่งสมอ
     เพื่อใช้บังคับในเขต อบต. ได้เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งต่อกฎหมายเพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามอำนาจหน้าที่ของ อบต. หรือเมื่อมีกฎหมายกำหนดให้ อบต. ออกข้อบัญญัติในการนี้จะกำหนดค่าธรรมเนียมที่จะเรียกเก็บและกำหนดโทษปรับผู้ฝ่าฝืนด้วยก็ได้ แต่มิให้กำหนดโทษปรับเกิน 1,000 บาท เว้นแต่จะมีกฎหมายกำหนดไว้เป็นอย่างอื่น
     ร่างข้อบัญญัติ อบต. จะเสนอได้โดยนายก อบต. หรือ สมาชิกสภา อบต.หรือราษฎรในเขต อบต. ตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น
 
การปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่ของ อบต.
 
    ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน โดยใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และให้คำนึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนา อบต. การจัดทำงบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้าง การประเมินผลการปฏิบัติงาน และการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ทั้งนี้ให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับว่าด้วยการนั้น และหลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงมหาดไทยกำหนด

สำนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งสมอ
เลขที่ 96 หมู่ที่ 1 ตำบลทุ่งสมอ อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ รหัสไปรษณีย์ 67270
โทรศัพท์ : 056-705913 , 056-705914  แฟกซ์ : 056-705914   E-mail : Thungsamo01@gmail.com

www.thungsamo.go.th